\n';
}
function getElementsByClassName(oElm, strTagName, strClassName){
var arrElements = (strTagName == "*" && document.all)? document.all : oElm.getElementsByTagName(strTagName);
var arrReturnElements = new Array();
strClassName = strClassName.replace(/\-/g, "\\-");
var oRegExp = new RegExp("(^|\\s)" + strClassName + "(\\s|$)");
var oElement;
for(var i=0; i');
$("#search").show();
$("#search").val(search_value);
setRandomSearchBoxName();
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
// $("#contents-showup").next().hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
$('input.translate-type:checked').val('popthai');
$('#textboxPlaceholder').html('');
$("#search").text(search_value);
setRandomSearchBoxName();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function doSubmit(obj) {
var form_obj = obj ? obj.form : document.getElementById("dict");
$(form_obj).attr("method", 'post');
var search_value = $("#search").val();
$("#search").attr('name', "search");
$("#search").hide();
$(".for-popthai").hide();
$(".read-bt, .read-bt-accent").removeClass('translate');
var inpType = $('input.translate-type:checked').val();
if (inpType == 'translate') {
$("#longdo-latest, #contents-showup").show();
$("#contents-showup-popthai").hide();
$("#logo-ads").removeClass('popthai-mode');
$("#search").show();
$(".read-bt, .read-bt-accent").addClass('translate');
if(search_value != "" && !obj) {
window.location = "/search/" + escape(encodeURIComponent(search_value.replace(/\n\r?/g, ' ')));
return false;
} else {
$('#textboxPlaceholder').html(' ');
setRandomSearchBoxName();
}
} else {
$(".for-popthai").show();
$("#logo-ads").addClass('popthai-mode');
$("#longdo-latest, #contents-showup").hide();
$("#contents-showup-popthai").show();
var searchinput = $('#search');
value = search_value;
$('#textboxPlaceholder').html('');
setRandomSearchBoxName();
searchinput = document.getElementById('search');
searchinput.value = value;
searchinput.focus();
searchinput.select();
if(obj === undefined) {
checkLan(search_value, $(".translate-language").val() == "Auto");
}
}
$("#search").focus();
return true;
}
function checkLan(search_value, isChange) {
var langSelect = $(".translate-language");
if(isChange) {
if(/[-ヿ]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('JP');
} else if(/[\u3400-\u9FBF]/g.test(search_value)) {
langSelect.val('ZH');
}
$(".is-auto-language").val('true');
} else {
$(".is-auto-language").val('false');
}
$(".search-bt").prop('disabled', true);
}
function isUrl(url) {
var pattern = /^(https?:\/\/)?((([a-z\d]([a-z\d-]*[a-z\d])*)\.)+[a-z]{2,}|((\d{1,3}\.){3}\d{1,3}))(\:\d+)?(\/[-a-z\d%_.~+]*)*(\?[;&a-z\d%_.~+=-]*)?(\#[-a-z\d_]*)?$/i
if(!pattern.test(url)) {
return false;
} else {
return true;
}
};
// -->
ลองค้นหาคำในรูปแบบอื่น ๆ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์มากขึ้นหรือน้อยลง: ถาวร , -ถาวร-
ถาวร (adj) permanent, See also: lasting , enduring , Syn. คงทน , ยั่งยืน , มั่นคง , Example: ประเทศผู้ค้าอาวุธรายใหญ่ของโลกอีก 4 ประเทศซึ่งล้วนแล้วแต่เป็นสมาชิกถาวรของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติจะพร้อมใจกันลดการส่งออกอาวุธธรรมดาๆ, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป ถาวร (v) be permanent, See also: be lasting , be enduring , Syn. คงทน , ยั่งยืน , มั่นคง , Example: การเปลี่ยนแปลงเพราะฤทธิ์ยา เราก็ไม่ถือว่าเป็นการเรียนรู้เพราะการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ถาวร, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป ถาวร (adv) permanently, See also: for good , Syn. คงทน , ยั่งยืน , มั่นคง , Example: หน่วยความจำในลักษณะนี้จะถูกเก็บไว้อย่างถาวร, Thai Definition: เป็นเช่นนั้นตลอดไป ฟันถาวร (n) tooth, Syn. ฟันแท้ , Example: เมื่ออายุ 6 ปี จะมีฟันถาวรซี่แรกปรากฏขึ้น คือ ฟันกราม, Count Unit: ซี่, แถว, ชุด, Thai Definition: ฟันชุดที่ 2 ซึ่งขึ้นภายหลังฟันน้ำนม คงทนถาวร (adj) durable, See also: strong , enduring , permanent , Syn. ทนทาน , ทน , Example: ปูนเป็นวัสดุคงทนถาวร ไม่เสื่อมสลายง่าย ถาวร วัตถุ(n) permanent structure, See also: architecture , permanent thing , article or building which is permanent , durable and indestr , Example: งานการกุศลครั้งนั้นจัดขึ้นเพื่อหาเงินสร้างถาวรวัตถุในพระศาสนา, Count Unit: ชนิด, ประเภท, อย่าง, Thai Definition: สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคง ยั่งยืน, Notes: (บาลี) อย่างถาวร (adv) permanently, See also: stably , enduringly , constantly , Syn. อย่างคงทน , อย่างยั่งยืน , Ant. ชั่วคราว , Example: คนที่ขาดเลือดไปเลี้ยงสมอง จะทำให้สมองและเส้นประสาทสูญเสียหน้าที่อย่างถาวร มั่นคงถาวร (adv) permanently, See also: constantly , enduringly , Syn. คงทนถาวร , Ant. ชั่วครั้งชั่วคราว , Example: พระสงฆ์ ทำพิธีสวดเบิกพระธาตุ เพื่อขอให้พระธาตุดำรงอยู่อย่างมั่นคงถาวร, Thai Definition: อย่างอยู่ได้นาน มั่นคงถาวร (v) last, See also: be permanent , be constant , Syn. คงทนถาวร , Ant. ชั่วครั้งชั่วคราว , Thai Definition: อยู่ได้นาน
ถาวร , ถาวร -(-วอน, -วอระ-) ว. มั่นคง, ยั่งยืน, คงทน. ถาวร วัตถุ(ถาวอระวัดถุ, ถาวอนวัดถุ) น. สิ่งที่ก่อสร้างเพื่อให้มั่นคงยั่งยืน เช่น โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ ปราสาท พระราชวัง. ถาวร ธิราน. ชื่อกลบทอย่างหนึ่ง บังคับให้มีคำที่ใช้ไม้ม้วนทุกวรรค ไม่ให้มีคำที่ใช้ไม้มลาย เช่น จักกล่าวถึงมเหษีที่อยู่ใน อรัญใหญ่องค์เดียวอนาถา อนาถใจถึงองค์พระภัศดา ให้โศกาถึงบุตรสุดอาวรณ์ (ศิริวิบุลกิตติ์). ฟันถาวร , ฟันแท้ น. ฟันชุดที่ ๒ ซึ่งขึ้นภายหลังฟันนํ้านม. สถาพร, สถาวร (สะถาพอน, -วอน) ว. ยืนยง, มั่นคง, เช่น ขอให้มีความสุขสถาพร สถิตสถาพร. แก่นสาร น. สิ่งที่ยั่งยืนถาวร , หลักที่ควรยึดถือ, คุณประโยชน์, (มักใช้ในความปฏิเสธ) เช่น ไม่เป็นแก่นสาร. คงทน ว. ยั่งยืน, ถาวร , ทนทาน. คำสั่งทางปกครอง น. การใช้อำนาจตามกฎหมายของเจ้าหน้าที่ที่มีผลเป็นการสร้างนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคลในอันที่จะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับ หรือมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล ไม่ว่าจะเป็นการถาวร หรือชั่วคราว เช่น การสั่งการ การอนุญาต การอนุมัติ การวินิจฉัยอุทธรณ์ การรับรอง และการรับจดทะเบียน แต่ไม่หมายความรวมถึงการออกกฎ. นวนิยาย น. บันเทิงคดีร้อยแก้วขนาดยาวรูปแบบหนึ่ง มีตัวละคร โครงเรื่อง เหตุการณ์ในเรื่อง และสถานที่ ที่ทำให้เนื้อเรื่องมีความสมจริง เช่น เรื่องหญิงคนชั่ว ของ ก. สุรางคนางค์ เรื่องเรือมนุษย์ ของ กฤษณา อโศกสิน, ถ้ามีขนาดสั้น เรียกว่า นวนิยายขนาดสั้น เช่น เรื่องดรรชนีนาง ของ อิงอร เรื่องสร้อยทอง ของ นิมิต ภูมิถาวร . ประตูชัย น. ประตูที่มีลักษณะเป็นซุ้ม อาจสร้างเป็นการถาวร หรือชั่วคราว สำหรับผู้ชนะสงครามจะเดินลอดในพิธีเพื่อประกาศชัยชนะ. ปอย ๒ น. งานพิธีต่าง ๆ, ถ้างานใหญ่ เช่นประเพณีฉลองการสร้างถาวร วัตถุของวัด เรียกว่า ปอยหลวง, ถ้างานเล็ก เช่นงานบวช เรียกว่า ปอยน้อย. เผนธรรม ไม่ถาวร . พลาสติก น. สารประกอบอินทรีย์ที่สังเคราะห์ขึ้นใช้แทนวัสดุธรรมชาติ บางชนิดเมื่อเย็นก็แข็งตัว เมื่อถูกความร้อนก็อ่อนตัว บางชนิดแข็งตัวถาวร มีหลายชนิด เช่น ไนลอน ยางเทียม ใช้ทำสิ่งต่าง ๆ เช่น เสื้อผ้า ฟิล์ม ภาชนะ ส่วนประกอบเรือหรือรถยนต์. เพิง น. สิ่งปลูกสร้างมีทั้งชนิดชั่วคราวขนาดเล็ก และชนิดถาวร ประกอบด้วยหลังคาปีกเดียว, ถ้าเอียงลาด เรียกว่า เพิงหมาแหงน, ถ้ามีแขนนางคํ้าตอนหน้า เรียกว่า เพิงแขนนาง, ถ้าปลายข้างหนึ่งพิงอยู่กับสิ่งก่อสร้างหลัก เรียกว่า เพิงพะ หรือ พะเพิง, ส่วนเพิงพะที่ใช้เป็นที่พักทหาร เรียกว่า เพิงพล. วันรัฐธรรมนูญ น. วันที่ระลึกเนื่องในวันที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชทานรัฐธรรมนูญฉบับถาวร ฉบับแรกให้แก่ประชาชนชาวไทย ตรงกับวันที่ ๑๐ ธันวาคม. วัยหมดระดู น. วัยของหญิงเมื่อหมดประจำเดือนอย่างถาวร โดยประมาณเริ่มตั้งแต่อายุ ๔๕ ปีขึ้นไป. ศูนย์ชุมชน น. หน่วยงานถาวร ที่เป็นศูนย์กลางในการวางแผนปฏิบัติงานและประสานงานบริการของหน่วยราชการและองค์การต่าง ๆ โดยประชาชนในท้องถิ่นนั้นจะเลือกคณะกรรมการขึ้นทำหน้าที่กำหนดนโยบายและบริหารงาน. ศูนยวาท น. ปรัชญาฝ่ายมหายานที่ถือว่า (๑) โลกเป็นศูนยะ คือ ไม่ใช่สิ่งจริงแท้ถาวร (๒) นิพพานก็เป็นศูนยะ คือ ไม่มีวาทะหรือลัทธิใด ๆ สามารถบรรยายได้ถูกต้องครบถ้วน, มาธยมิกะ ก็เรียก. สัสต- (สัดสะตะ-) ว. เที่ยง, แน่นอน, คงที่, ถาวร . สุญนิยม ลัทธิที่ถือว่าไม่มีอะไรตั้งอยู่อย่างเที่ยงแท้ถาวร อสังหาริมทรัพย์ ที่ดินและทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินมีลักษณะเป็นการถาวร หรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้น และหมายความรวมถึงทรัพยสิทธิอันเกี่ยวกับที่ดินหรือทรัพย์อันติดอยู่กับที่ดินหรือประกอบเป็นอันเดียวกับที่ดินนั้นด้วย, คู่กับ สังหาริมทรัพย์. อาตมัน น. อัตตาหรือดวงวิญญาณ ซึ่งศาสนาและปรัชญาฮินดูถือว่าเที่ยงแท้ถาวร .
permanent sterility การเป็นหมันถาวร [ประชากรศาสตร์
๔ ก.พ. ๒๕๔๕] permanent virtual circuit (PVC) วงจรเสมือนถาวร (พีวีซี) [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent fixture สิ่งติดตรึงถาวร [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent health insurance การประกันสุขภาพแบบถาวร [ประกันภัย
๒ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent infertility ภาวะไม่เจริญพันธุ์ถาวร [ประชากรศาสตร์
๔ ก.พ. ๒๕๔๕] permanent registration การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] permanent resident ผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร , ผู้อยู่ประจำถิ่น [ประชากรศาสตร์
๔ ก.พ. ๒๕๔๕] permanent revolution การปฏิวัติถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] PVC (permanent virtual circuit) พีวีซี (วงจรเสมือนถาวร ) [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent abode ถิ่นที่อยู่ถาวร [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent appointment การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] permanent appropriation งบจัดสรรถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] permanent backing แผ่นรองเชื่อมถาวร [การเชื่อม
๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] permanent backing ring แหวนรองเชื่อมถาวร [การเชื่อม
๒๐ ก.ย. ๒๕๔๔] permanent disability ความพิการถาวร , ทุพพลภาพถาวร [ประชากรศาสตร์
๔ ก.พ. ๒๕๔๕] permanent disability ทุพพลภาพถาวร [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent disablement ทุพพลภาพถาวร [ประกันภัย
๒ มี.ค. ๒๕๔๕] permanent ถาวร , ตลอดไป, ไม่มีกำหนดเวลา [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] registration, permanent การทำบัญชีรายชื่อผู้เลือกตั้งถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] assets, fixed สินทรัพย์ถาวร [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] appointment, permanent การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] appropriation, permanent งบจัดสรรถาวร [รัฐศาสตร์
๑๗ ส.ค. ๒๕๔๔] archive หน่วยเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] archive หน่วยเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] archived file แฟ้มเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] archived file แฟ้มเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] archiving การเก็บถาวร [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] archiving การเก็บถาวร [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] chemical remanent magnetisation การเป็นแม่เหล็กถาวร เคมี [ธรณีวิทยา๑๔ ม.ค. ๒๕๔๖] fixed assets สินทรัพย์ถาวร [นิติศาสตร์
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] hard copy; hardcopy ๑. สำเนาถาวร , ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [มีความหมายเหมือนกับ printout] [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] hardcopy; hard copy ๑. สำเนาถาวร , ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [มีความหมายเหมือนกับ printout] [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] hard ๑. แข็ง๒. ถาวร [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] hard copy; hardcopy ๑. สำเนาถาวร , ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [มีความหมายเหมือนกับ printout] [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔] hard copy; hardcopy ๑. สำเนาถาวร , ฉบับพิมพ์๒. สิ่งพิมพ์ออก [มีความหมายเหมือนกับ printout] [เทคโนโลยีสารสนเทศ
๑๑ มี.ค. ๒๕๔๕] hard font ชุดแบบอักษรถาวร [คอมพิวเตอร์
๑๙ มิ.ย. ๒๕๔๔]
Open Archives Initiative โครงการริเริ่มคลังสาระถาวร ด้วยเทคโนโลยีแบบเปิด, Example: Open Archives Initiative (OAI) เป็นองค์กรที่จัดตั้งและได้การสนับสนุนจาก Andrew W. Mellon Foundation, the Coalition for Networked Information, the Digital Library Federation, และจาก National Science Foundation
OAI พัฒนามาตรฐานและส่งเสริมการใช้มาตรฐานสำหรับการทำงานเครือข่ายข้อมูลต่างระบบ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้การเผยแพร่เนื้อหาความรู้เป็นไปได้ง่ายและสะดวก OAI เสนอกลไกสำหรับเจ้าของสารสนเทศให้เปิดเผยเมทาดาทาที่ใช้ เพื่อให้ระบบสามารถใช้เทคโนโลยีในการค้นและเข้าถึงข้อมูลหรือเอกสารได้
ผลงานหลักของ OAI คือ กรอบทำงานในการเก็บเกี่ยวเมทาดาทาจากแหล่งสารสนเทศ (repository) หลายๆ แหล่งและโปรโตคอลที่ใช้ในการเก็บเกี่ยวที่รู้จักกันในนาม OAI Protocol for Metadata Harvesting (OAI-PMH)
OAI-PMH จึงเป็นการหาข้อมูลทั้งหมด จากนั้นจึงแปลเมทาดาทาของเดิม (Native metadata) ไปเป็นหน่วยข้อมูลที่ใช้กันโดยทั่วไป และนำออกเพื่อการเก็บเกี่ยว (Harvesting) ตัวให้บริการคำค้นจะรวบรวมเมทาดาทาเข้าไปเก็บไว้ในดรรชนีส่วนกลาง (คลังเก็บคำค้นส่วนกลาง) เพื่อให้มีการสืบค้นข้ามแหล่งเก็บนี้ได้ ดังรูป
รายการอ้างอิง
Open Archives Initiative. http://www.openarchives.org/OAI/OAI-organization.php. Accessed 29-08-2012.
Rajashekar, T.B. IS 206 - Information and Knowledge Organization. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/topic-14.htm. Accessed: 29-08-2012
Rajashekar, T.B. Metadata and Interoperability. 2003. http://www.ncsi.iisc.ernet.in/raja/is206/raja-interoperability.ppt. Accessed. 29-08-2012 [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์]
Vertical file ตู้เก็บเอกสารที่เก็บจุลสาร กฤตภาค แผนที่ เอกสารพับ ที่มีลักษณะไม่คงทนถาวร , ตู้จุลสาร [บรรณารักษ์และสารสนเทศศาสตร์] พระเมรุพิมาน อาคารถาวร ที่ใดที่หนึ่ง ซึ่งตั้งพระบรมศพ หรือพระศพเวลาถวายพระเพลิงอัญเชิญพระบรมศพหรือพระศพจากพระเมรุพิมานไปถวายพระเพลิงที่พระเมรุ (ขนาดน้อย) อีกแห่งใกล้ ๆ หรือไม่ไกลกันมาก [ศัพท์พระราชพิธี] Permanent magnet motor มอเตอร์แม่เหล็กถาวร [วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี] Unsealed source ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก เช่น วัสดุกัมมันตรังสีไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะหรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจาย หกเปรอะเปื้อน ซึมรั่ว ออกจากภาชนะที่บรรจุได้ [นิวเคลียร์] Sealed source ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งปิดผนึกอย่างถาวร ในปลอกหุ้ม หรือห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตภาพรังสีในสภาวะการใช้งานปกติ รวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [นิวเคลียร์] Interim storage การเก็บรักษาเฉพาะกาล, การเก็บรักษาเชื้อเพลิงใช้แล้วหรือกากกัมมันตรังสีในสถานที่เก็บชั่วคราวก่อนที่จะนำไปดำเนินการหรือเก็บรักษาในสถานที่เก็บถาวรต่อไป
(ดู storage, waste และ disposal, waste ประกอบ) [นิวเคลียร์] Dental restoration การบูรณะฟันถาวร [TU Subject Heading] Denture การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [TU Subject Heading] Permanent การบูรณะฟันถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] Temporary การบูรณะฟันถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] Partial การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] Fixed การใส่ฟันเทียมบางส่วนถาวร [เทคโนโลยีการศึกษา] Peritoneal dialysis, Continuous ambulatory ไดอะลัยซิสเยื่อบุช่องท้องแบบถาวร [TU Subject Heading] Permaculture เกษตรกรรมถาวร [TU Subject Heading] Holoplankton แพลงก์ตอนถาวร , Example: แพลงก์ตอนพืชและสัตว์ที่ดำรงชีวิตเป็น แพลงก์ตอนตลอดชีพ นับตั้งแต่เกิดเป็นตัวจนถึงระยะโตเต็มที่ เช่น ไดอะตอม สาหร่าย กุ้งเคย หวีวุ้น เป็นต้น [สิ่งแวดล้อม] Celibacy การครองโสดถาวร , Example: บุคคลที่ยังไม่เคยสมรสคำที่มีความหมายเหมือน กัน คือสถานภาพโสด (single) (11) หมวดประชากร เศรษฐกิจ และสังคม [สิ่งแวดล้อม] Permanent Hardness ความกระด้างถาวร , Example: ความกระด้างของน้ำ ซึ่งไม่อาจกำจัดได้ด้วยการต้ม [สิ่งแวดล้อม] Ambassador Extraordinary and Plenipotentiary Permanent Representative of Thailand to the United Nations เอกอัครราชทูต ผู้แทนถาวร แห่งประเทศไทยประจำองค์การสหประชาชาติ (ณ นครนิวยอร์ก/นครเจนีวา) [การทูต] Amendments to the Charter of the United Nations การแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติ
กฎบัตรของสหประชาชาตินั้น เปิดโอกาสให้มีการแก้ไขได้โดยสมัชชาสหประชาชาติหรือโดยที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ของสมาชิกสหประชาชาติ ซึ่งอาจจะประชุมกัน ณ วันเวลาและสถานที่ตามแต่จะมีการตกลงกัน โดยคะแนนเสียง 2 ใน 3 ส่วนของสมัชชาใหญ่ และโดยคะแนนเสียงของสมาชิกคณะมนตรีความมั่นคงใด ๆ 7 เสียง ในที่ประชุมใหญ่นั้น สมาชิกแต่ละประเทศของสหประชาชาติจะมีเสียงลงคะแนน 1 เสียงการที่จะแก้ไขกฎบัตรสหประชาชาติให้เป็นผลสำเร็จ จะต้องได้เสียงสนับสนุนจากสมาชิกเป็นจำนวน 2 ใน 3 ส่วนของสมาชิกทั้งหมดในสมัชชาหรือจากที่ประชุมใหญ่ เมื่อการแก้ไขกฎบัตรเป็นที่รับรองแล้ว จะมีผลบังคับต่อสมาชิกทั้งหมดของสหประชาชาติ ก็ต่อเมื่อได้รับการสัตยาบันจากสมาชิก 2 ใน 3 ส่วนของจำนวนทั้งหมด รวมทั้งการรับรองจากสมาชิกถาวร ของคณะมนตรีความมั่นคงด้วยอาทิเช่น ในสมัยประชุมที่ 18 ของสมัชชาใหญ่ การแก้ไขกฎบัตรได้รับการรับรองเห็นชอบด้วย โดยผ่านข้อมติที่ 1991 (XVII) ในการแก้ไขครั้งนี้ได้เพิ่มจำนวนสมาชิกของคณะมนตรีความมั่นคงจาก 11 เป็น 15 คณะมนตรีเศรษฐกิจและสังคมจาก 18 เป็น 27 ประเทศ การแก้ไขดังกล่าวได้รับการลงมติรับรองเมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ค.ศ. 1963 ในปัจจุบันนี้ ประเทศสมาชิกเป็นจำนวนมากกำลังเรียกร้องให้มีการปรับจำนวนสมาชิกถาวร ของคณะ มนตรีความมั่นคงเสียใหม่ [การทูต] Break of Diplomatic Relations การตัดความสัมพันธ์ทางการทูต
เมื่อสองรัฐตัดความสัมพันธ์ทางการทูตซึ่งกันและกัน เพราะมีการไม่ลงรอยกันอย่างรุนแรง หรือเพราะเกิดสงคราม จึงไม่มีหนทางติดต่อกันได้โดยตรง ดังนั้น แต่ละรัฐมักจะขอให้มิตรประเทศที่เป็นกลางแห่งใดแห่งหนึ่ง ซึ่งเป็นที่ยอมรับของรัฐอีกฝ่ายหนึ่ง ช่วยทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในอีกรัฐหนึ่ง โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้ช่วยดูแลคนชาติของรัฐนั้น ตัวอย่างเช่น ในตอนที่สหรัฐอเมริกากับคิวบาได้ตัดความสัมพันธ์ทางการทูตกดัน สหรัฐอเมริกาได้ขอให้คณะผู้แทนทางการทูตของสวิส ณ กรุงฮาวานา ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของสหรัฐฯ ในประเทศคิวบา ในขณะเดียวกัน สถานเอกอัครราชทูตเช็คโกสโลวาเกียในกรุงวอชิงตัน ก็ได้รับการขอจากประเทศคิวบา ให้ช่วยพิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนในสหรัฐอเมริกาถึงสังเกตว่า การตัดความสัมพันธ์ทางการทูตนี้ มิได้หมายความว่าความสัมพันธ์ทางกงสุลจะต้องตัดขาดไปด้วย มาตรา 45 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาได้บัญญัติว่า ?ถ้าความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างสองรัฐขาดลง หรือถ้าคณะผู้แทนถูกเรียกกลับเป็นการถาวร หรือชั่วคราวก. แม้ในกรณีการขัดแย้งกันด้วยอาวุธ รัฐผู้รับจะต้องเคารพและคุ้มครองสถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทนด้วยข. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการพิทักษ์สถานที่ของคณะผู้แทน รวมทั้งทรัพย์สินและบรรณสารของคณะผู้แทน ให้แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับแก่รัฐผู้รับก็ได้ค. รัฐผู้ส่งอาจมอบหมายการอารักขาผลประโยชน์ของคนและคนชาติของตน แก่รัฐที่สามซึ่งเป็นที่ยอมรับได้แก่รัฐผู้รับก็ได้ [การทูต] Classes of Consuls เจ้าหน้าที่ฝ่ายกงสุล
แบ่งออกเป็นสองประเภท คือ กงสุลอาชีพ (Consules de Carriere) กับกงสุลกิตติมศักดิ์ (Honorary Consuls) กงสุลอาชีพเป็นคนชาติของรัฐผู้ส่ง และจะประจำทำงานเต็มเวลาในที่ทำการทางกงสุล ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์นั้นไม่มีฐานะเป็นกงสุลอาชีพ โดยมากเป็นนักธุรกิจในต่างประเทศ ซึ่งจะประจำทำงานเพียงส่วนหนึ่งของวัน (ไม่ใช่เต็มวัน) ในสถานที่ทำการทางกงสุลของตน และอาจจะเป็นคนชาติของรัฐที่เขาเป็นตัวแทนอยู่ หรือไม่เป็นคนชาติของรัฐนั้นก็ได้ ความแตกต่างอื่นๆ ระหว่างกงสุลอาชีพกับกงสุลกิตติมศักดิ์ มีดังนี้1. กงสุลอาชีพจะได้รับเงินเดือนประจำ แต่กงสุลกิตติมศักดิ์ไม่มีเงินเดือน2. กงสุลอาชีพมีตำแหน่งหน้าที่ถาวร ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์มีตำแหน่งว่าจ้างเพียงชั่วคราว 3. ส่วนมากกงสุลอาชีพจะต้องเป็นผู้ได้รับการฝึกอบรมหรือมีประสบการณ์มาก่อน ส่วนกงสุลกิตติมศักดิ์ไม่ต้องเป็นเช่นนั้น4. กงสุลอาชีพมีสิทธิได้รับความคุ้มกัน (immunities) และการยกเว้นต่าง ๆ มากกว่ากงสุลกิตติมศักดิ์สำหรับบุคคลที่เป็นหัวหน้าในที่ทำการทางกงสุลนั้น มีตำแหน่งตามลำดับชั้น คือ1) กงสุลใหญ่ (Consuls-general)2) กงสุล (Consuls)3) รองกงสุล (Vice-consuls) [การทูต] Conference Diplomacy กระบวนการเจรจาระหว่างรัฐบาลต่อรัฐบาลในรูปของการ ประชุม
แทนที่จะกระทำโดยวิถีทางการทูตตามปกติ คือ โดยทางเอกอัครราชทูต หรือผู้แทนทางการทูตถาวร การประชุมแบบหนึ่งซึ่งเรียกว่า การประชุมโต๊ะกลม เพื่อทำหน้าที่ระงับปัญหาระหว่างประเทศนั้น เริ่มนิยมกระทำกันหลังสงครามโลกครั้งที่ 1 การประชุมระหว่างประเทศนี้จะประกอบด้วยคณะผู้แทน ซึ่งมีหัวหน้าคณะที่ได้รับมอบอำนาจเต็ม และรัฐบาลของประเทศที่ร่วมประชุมเป็นผู้ส่งไป ในเรื่องนี้มีความเห็นแตกต่างกันอยู่บ้าง บ้างเห็นว่า ควรเป็นการประชุมทางการทูตตามประเพณีที่กระทำกันโดยใช้ผู้เชี่ยวชาญโดยอาชีพ ซึ่งเป็นไปตามวิถีทางการทูตตามปกติมากกว่า [การทูต] Committee of Permanent Representatives คณะกรรมการในกรอบสหภาพยุโรป
ประกอบด้วยผู้แทนถาวร ประจำสหภาพยุโรปของประเทศสมาชิก [การทูต] Committee of Permanent Representatives to ASEAN คณะกรรมการผู้แทนถาวร ประจำอาเซียน
ประกอบด้วยผู้แทนถาวร (ระดับเอกอัครราชทูต) ประจำอาเซียนของประเทศสมาชิกทั้ง 10 ประเทศ ทำหน้าที่ในการติดต่อประสานงานกับสำนัก เลขาธิการอาเซียนสนับสนุนการทำงานของคณะมนตรีประชาคมอาเซียนรวมทั้งองค์กร ระดับรัฐมนตรีอาเซียนเฉพาะสาขาต่าง ๆ [การทูต] Dean (หรือ Doyen) of the Diplomatic Corps หัวหน้า (Dean) ของคณะทูตานุทูตในนครหลวงของประเทศใดก็ตาม
ได้แก่ ตัวทูตที่อาวุโสที่สุด (คือเป็นทูตอยู่ในประเทศนั้นๆ เป็นเวลานานที่สุด) ตัวหัวหน้าคณะทูตานุทูตจะมีลำดับอาวุโสเหนือทุกคนในคณะทูตานุทูต ทำหน้าที่เป็นโฆษกของคณะทูตเมื่อถึงความจำเป็น และเป็นผู้ดูแลและคุ้มครองบรรดาเอกสิทธ์และความคุ้มกันทางการทูตที่คณะ ทูตานุทูตมีอยู่ แต่หน้าที่ที่แท้จริงนั้น โดยมากเกี่ยวกับเรื่องพิธีการทูตมากกว่า อาทิเช่น เมื่อถึงวันที่ระลึกครบรอบวันเกิดประมุขของรัฐ (เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษาในประเทศไทย) Dean ของคณะทูตจะเป็นผู้กล่าวแสดงความยินดีในโอกาสดังกล่าวในนามของคณะทูตทั้งหมด แต่การที่จะเรียกหรือขอให้บุคคลในคณะทูตไปประชุมเพื่อจุดประสงค์ทางการเมือง นั้น เป็นสิ่งที่ Dean ไม่พึงกระทำ อย่างไรก็ตาม จะไม่มีผู้แทนทางการทูตคนใดไปร่วมการประชุมระหว่างบุคคลในคณะทูตด้วยกัน เกี่ยวกับปัญหาระหว่างประเทศโดยมิได้รับคำสั่งโดยเฉพาะจากรัฐบาลของตนก่อน ภริยาของ Dean หรือ Doyen นั้นเรียกว่า Doyenneเมื่อหัวหน้าคณะทูตวายชนม์ขณะที่ดำรงตำแหน่งอยู่ บุคคลในคณะทูตที่มีอาวุโสรองลงมาหรือเป็นบุคคลที่สองจะเป็นผู้รับช่วงงาน ทันที และมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Chargé d?Affaires ad interim) ทั้งจะต้องดูว่า เอกสารทางราชการต่าง ๆ โดยเฉพาะเอกสารลับหรือปกปิด จะไม่ทิ้งรวมอยู่กับ เอกสารส่วนตัวของทูตผู้วายชนม์อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทาง การทูต ซึ่งได้รับการรับรองเมื่อวันที่ 18 เมษายน ค.ศ. 1961 จากการประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับการติดต่อและความคุ้มกันทางการทูต ได้บัญญัติไว้ว่า?ข้อ 39 (3) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนทางการทูต ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามี สิทธิที่จะได้รับไปจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป(4) ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวร ในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว ให้รัฐผู้รับอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่ส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้ามในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในคราอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดกและการรับมรดกนั้น ๆ ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับ เพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่ฝ่ายเดียวของผู้วายชนม์ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทนอนึ่ง อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล ซึ่งได้รับการรับรองจากที่ประชุมสหประชาชาติ เกี่ยวกับความสัมพันธ์ทางกงสุล เมื่อวันที่ 24 เมษายน ค.ศ. 1963 ได้บัญญัติไว้ว่า ?ข้อ 51 ในกรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล หรือของคนในครอบครัว ซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว รัฐผู้รับ(ก) จะอนุญาตให้ส่งออกซึ่งสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ โดยมีข้อยกเว้นแก่ทรัพย์สินเช่นว่า ทรัพย์ใด ๆ ที่ได้มาในรัฐผู้รับนั้น ซึ่งการส่งออกของทรัพย์ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลดังกล่าวถึงแก่มรณกรรม(ข) จะไม่เรียกเก็บอากรกองมรดก อากรสืบช่วงมรดกหรืออากรรับมรดก และอากรการโอน ไม่ว่าจะเป็นอากรของชาติ ของภูมิภาค หรือของเทศบาล จากสังหาริมทรัพย์ ซึ่งการที่สังหาริมทรัพย์นั้นอยู่ในรัฐผู้รับก็เนื่องมาแต่ฝ่ายเดียว จากการที่ผู้วายชนม์อยู่ในรัฐนั้นฐานะบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุลหรือใน ฐานะคนในครอบครัวของบุคคลในที่ทำการกงสุล? ?ข้อ 53(5) กรณีมรณกรรมของบุคคลในสถานที่ทำการทางกงสุล คนในครอบครัวซึ่งเป็นส่วนแห่งครัวเรือนของบุคคลดังกล่าว จะคงได้รับอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ประสาทให้แก่ตนต่อไป จนกว่าตนจะออกไปจากรัฐผู้รับ หรือจนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะสามารถให้ตนกระทำดังนั้นได้ แล้วแต่ว่าเวลาไหนจะมาถึงก่อนกัน? [การทูต] Duration of Diplomatic Privileges and Immunities ระยะเวลาของการอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันทาง การทูต
ในเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในมาตราที่ 39 ว่า?1. บุคคลทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้มกัน ที่จะได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันนั้นตั้งแต่ขณะที่บุคคลนั้นเข้ามาใน อาณาเขตของรัฐผู้รับในการเดินทางไปรับตำแหน่งของตน หรือถ้าอยู่ในอาณาเขตของรัฐผู้รับแล้ว ตั้งแต่ขณะที่ได้บอกกล่าวการแต่งตั้งของตนต่อกระทรวงการต่างประเทศ หรือกระทรวงอื่นตามที่อาจจะตกลงกัน 2. เมื่อภารกิจหน้าที่ของบุคคล ซึ่งอุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันยุติลง เอกสิทธิ์และความคุ้มกันตามปกติให้สิ้นสุดลงขณะที่บุคคลนั้นออกไปจากประเทศ หรือเมื่อสิ้นกำหนดอันสมควรที่จะทำเช่นนั้น แต่จะยังมีอยู่จนกระทั่งเวลานั้น แม้ในกรณีของการขัดแย้งด้วยอาวุธ อย่างไรก็ดี ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปโดยบุคคลเช่นว่านั้น ในการปฏิบัติการหน้าที่ของตนในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน ความคุ้มกันนั้นให้มีอยู่สืบไป 3. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ให้คนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันซึ่งเขามีสิทธิที่จะได้สืบไป จนกว่าจะสิ้นกำหนดเวลาอันสมควรที่จะออกจากประเทศไป 4. ในกรณีการถึงแก่กรรมของบุคคลในคณะผู้แทน ซึ่งไม่ใช่คนชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นอยู่ถาวร ในรัฐผู้รับ หรือของคนในครอบครัว ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของบุคคลในคณะผู้แทนดังกล่าว รัฐผู้รับสามารถอนุญาตให้ถอนสังหาริมทรัพย์ของผู้วายชนม์ไป ยกเว้นแต่ทรัพย์สินใดที่ได้มาในประเทศที่การส่งออกซึ่งทรัพย์สินนั้นเป็นอัน ต้องห้าม ในเวลาที่บุคคลในคณะผู้แทน หรือคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทนนั้นถึงแก่กรรม อากรกองมรดก การสืบมรดก และการรับมรดกนั้น ไม่ให้เรียกเก็บแก่สังหาริมทรัพย์ซึ่งอยู่ในรัฐผู้รับเพราะการไปอยู่ ณ ที่นั้นแต่เพียงถ่ายเดียวของผู้วายชนม์ ในฐานะเป็นบุคคลในคณะผู้แทน หรือในฐานะเป็นคนในครอบครัวของบุคคลในคณะผู้แทน? [การทูต] Establishment of Diplomatic Relations and Missions การสถาปนาความสัมพันธ์ทางการทูตและคณะผู้แทนถาวร ทางการทูต
ข้อนี้มีบทบัญญัติไว้ในมาตรา 2 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตว่าการสถาปนาความ สัมพันธ์ทางการทูตระหว่างรัฐ และคณะผู้แทนถาวร ทางการทูตมีขึ้นได้ด้วยความยินยอมของกันและกันในเรื่องนี้ รัฐที่มีอธิปไตยโดยสมบูรณ์ทุกรัฐ มีสิทธที่จะส่งตัวแทนทางการทูตไปทำหน้าที่พิทักษ์ดูแลผลประโยชน์ของตนยังรัฐ อื่นๆ ซึ่งถือกันว่ามี Active right of legation แต่การใช้สิทธิดังกล่าว เป็นเรื่องดุลยพินิจของแต่ละรัฐ เพราะจะบังคับให้รัฐหนึ่งส่งคณะผู้แทนทางทูตประจำ ณ ที่ใดหาได้ไม่ ถ้าหากรัฐนั้นไม่ปรารถนาจะปฏิบัติเช่นนั้น ในทำนองเดียวกันจะมีการบังคับให้รัฐผู้รับต้องรับคณะผู้แทนทางการทูตจากรัฐ ใดหาได้ไม่ ทั้งนี้เพราะเป็นเรื่องดุลยพินิจของรัฐผู้รับเช่นกัน [การทูต] Great Powers ประเทศมหาอำนาจ
รัฐที่พอจะเรียกได้ว่าเป็นประเทศมหาอำนาจ คือรัฐที่มีอำนาจอิทธิพลครอบงำในกิจการระหว่างประเทศ ไม่มีกฎหมายใดๆ ที่จะกำหนดว่าประเทศนั้น ประเทศนี้มีสถานภาพเป็นมหาอำนาจ หากเป็นเพียงเพราะรัฐนั้นๆ มีขนาด พละกำลัง และอำนาจอิทธิพลทางเศรษฐกิจเป็นพื้นฐาน และจะสังเกตได้ว่า สถานะของกลุ่มประเทศมหาอำนาจเช่นนี้ก็จะเปลี่ยนแปลงได้บ่อยๆ เช่น ในสมัยการประชุมคองเกรสแห่งเวียนนาในปี ค.ศ. 1815 ประเทศมหาอำนาจในสมัยนั้นได้แก่ อังกฤษ ออสเตรีย ฝรั่งเศส ปอร์ตุเกส ปรัสเซีย สเปน สวีเดน และรัสเซีย หลังจากนั้นได้เกิดการเปลี่ยนแปลงใหม่เกี่ยวกับพละกำลังของประเทศมหาอำนาจ คือก่อนเกิดสงครามโลกครั้งที่ หนึ่ง ประเทศที่จัดว่าเป็นมหาอำนาจในตอนนั้นคือ อังกฤษ ฮังการี ฝรั่งเศส เยอรมนี อิตาลี และรัสเซีย ซึ่งตั้งอยู่ในทวีปยุโรป รวมทั้งสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ซึ่งตั้งอยู่นอกยุโรป เมื่อตอนสิ้นสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศที่เป็นมหาอำนาจได้แก่ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ โซเวียตรัสเซีย ฝรั่งเศส และจีน พึงสังเกตด้วยว่า องค์การสหประชาชาติได้ถือว่า ประเทศทั้ง 5 นี้มีอำนาจและมีความสำคัญมากที่สุดในขณะนั้น ทั้ง 5 ประเทศนี้ต่างเป็นสมาชิกถาวร ในคณะมนตรีความมั่นคงของสหประชาชาติ ซึ่งมีอำนาจใช้สิทธิยับยั้ง (Veto) ในที่ประชุม ซึ่งในปัจจุบันก็ยังปฏิบัติเช่นนั้นอยู่ [การทูต] International Labor Organization คือองค์การแรงงานระหว่างประเทศ
ตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 11 เมษายน ปีค.ศ.1919 วัตถุประสงค์สำคัญขององค์การคือ การมีส่วนเกื้อกูลให้มีสันติภาพอันถาวร ด้วยการส่งเสริมให้มีความยุติธรรมในสังคม โดยต้องการให้ทุกประเทศปฏิบัติการปรับปรุงสภาวะแรงงาน ส่งเสริมมาตรฐานการครองชีพ พร้อมทั้งส่งเสริมเสถียรภาพทางเศรษฐกิจและสังคมให้ดีขึ้นการที่จะให้บรรลุ ตามวัตถุประสงค์เหล่านี้ องค์การแรงงานระหว่างประเทศจะจัดให้มีการประชุมเป็นประจำ ระหว่างฝ่ายรัฐบาล ฝ่ายแรงงาน และฝ่ายจัดการ เพื่อเสนอแนะและจัดให้มีมาตรฐานระหว่างประเทศ ร่วมกันจัดร่างสัญญาแรงงานระหว่างประเทศเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าแรง ชั่วโมงทำงาน อายุการทำงาน เงื่อนไขการทำงานสำหรับคนงานในระดับต่าง ๆ ค่าชดเชยสำหรับคนงาน การประกันสังคม การหยุดพักร้อนโดยให้รับเงินเดือน ความปลอดภัยในงานอุตสาหกรรม บริการต่าง ๆ ในหน้าที่การงาน การตรวจแรงงาน เสรีภาพในการคบหาสมาคมกัน และอื่น ๆ นอกจากนั้น องค์การยังได้ให้ความช่วยเหลือทางวิชาการอย่างกว้างขวางแก่รัฐบาลของประเทศ สมาชิก รวมทั้งจัดพิมพ์เผยแพร่สิ่งพิมพ์หรือเอกสารรายคาบ เรื่องค้นคว้าและรายงานต่าง ๆ เกี่ยวกับปัญหาสังคม อุตสาหกรรม และแรงงานILO ปฏิบัติงานผ่านองค์กรต่าง ๆ โดยองค์กรสำคัญที่สุดภายในองค์การแรงงานระหว่างประเทศได้แก่ ที่ประชุมใหญ่ (General Conference) ซึ่งประชุมกันเป็นประจำทุกปี ประกอบด้วยคณะผู้แทนแห่งชาติ ในจำนวนนี้มีผู้แทนจากฝ่ายรัฐบาล 2 คน ผู้แทนฝ่ายจัดการ 1 คน และผู้แทนฝ่ายแรงงานอีก 1 คน หน้าที่สำคัญคือจัดวางมาตรฐานทางสังคมระหว่างประเทศขึ้นในรูปของอนุสัญญา องค์กรภายในองค์การอีกส่วนหนึ่งคือคณะผู้ว่าการ (Governing Body) จะประกอบด้วย สมาชิก 40 คน ในจำนวนนี้ 20 คน จะเป็นตัวแทนของฝ่ายรัฐบาล โดยเฉพาะอย่างยิ่ง 10 คน จากจำนวนนี้จะได้แก่ ตัวแทนจากประเทศอุตสาหกรรมใหญ่ ๆ ส่วนตัวแทนของฝ่ายจัดการ (หรือนายจ้าง) จะมีจำนวน 10 คน และอีก 10 คนเป็นตัวแทนของฝ่ายแรงงาน คณะผู้ว่าการนี้จะทำหน้าที่ควบคุมดูแลงานของคณะกรรมาธิการ และคณะกรรมการขององค์การ คือสำนักแรงงานระหว่างประเทศจะมีหน้าที่รวบรวมเผยแพร่ข้อสนเทศ ช่วยเหลือรัฐบาลของประเทศสมาชิกที่ขอร้องให้ช่วยร่างกฎหมายตามที่ได้มีมติ ตกลงในที่ประชุมใหญ่ นอกจากนี้ ยังรับดำเนินการสอบสวนเรื่องต่าง ๆ เป็นพิเศษ รวมทั้งออกสิ่งพิมพ์เผยแพร่องค์การแรงงานระหว่างประเทศมีสำนักงานใหญ่ตั้ง อยู่ ณ กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ [การทูต] Multiple Representation คือการเป็นตัวแทนประจำประเทศต่าง ๆ มากกว่าหนึ่งแห่ง
ตามหลักทั่วไป รัฐหนึ่งจะแต่งตั้งบุคคลหนึ่งให้ไปประจำเพียงรัฐเดียวในตำแหน่งเอกอัคร ราชทูต แต่มาในทุกวันนี้ เนื่องจากงบประมาณของประเทศมีจำกัด จึงเป็นธรรมเนียมแพร่หลายที่จะตั้งให้เอกอัครราชทูตคนเดียวไปประจำปลาย ประเทศได้ในเวลาเดียวกัน ยกเว้นแต่ว่ารัฐผู้รับหนึ่งใดจะแสดงการคัดค้านอย่างแจ้งชัดเอกอัครราชทูตคน เดียวกัน ซึ่งไปประจำอยู่หลายประเทศนั้น จะมีถิ่นพำนักถาวร (Permanent Residence) อยู่ในนครหลวงของเพียงประเทศหนึ่ง ส่วนในประเทศที่เหลือที่เขาเป็นเอกอัครราชทูตประจำอยู่ด้วยนั้น เขาไปพำนักอยู่เพียงระยะเวลาจำกัดเป็นพัก ๆ รัฐผู้ส่งจะมีคณะผู้แทนทางการทูตของตนไปประจำ ณ นครหลวงของแต่ละประเทศเหล่านั้น ตัวหัวหน้าคณะแต่ละแห่งจะมีตำแหน่งเรียกว่า อุปทูตชั่วคราว (Charge d? Affaires ad interim)เกี่ยวกับเรื่องนี้ อนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ในข้อ 5 ดังนี้ ?1. หลังจากที่ได้บอกกล่าวแก่รัฐผู้รับที่เกี่ยวข้องตามสมควรแล้ว นอกจากจะมีการคัดค้านอย่างชัดแจ้งโดยรัฐผู้รับรัฐใดรัฐหนึ่ง รัฐผู้ส่งอาจแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทน หรือแต่งตั้งบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตแล้วแต่กรณี ไปยังมากกว่ารัฐหนึ่งก็ได้ 2. ถ้ารัฐผู้ส่งแต่งตั้งหัวหน้าคณะผู้แทนไปยังรัฐอื่นหนึ่งรัฐหรือมากกว่านั้น รัฐผู้ส่งอาจสถาปนาคณะผู้แทนทางการทูตโดยมีอุปทูตชั่วคราวเป็นหัวหน้าในแต่ ละรัฐที่หัวหน้าคณะผู้แทนไม่มีที่นั่งทำงานของตนเป็นประจำก็ได้ 3. หัวหน้าคณะผู้แทน หรือบุคคลใดในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายการทูตของคณะผู้แทน อาจกระทำการในฐานะเป็นผู้แทนของรัฐผู้ส่งในองค์การระหว่างประเทศใดก็ได้" [การทูต] Neutralization, Neutrality หรือ Neutralism คำว่า Neutraliza-tion หมายถึง กระบวนการซึ่งรัฐได้รับการค้ำประกันความเป็นเอกราชและบูรณภาพอย่างถาวร ภาย ใต้อนุสัญญาระหว่างประเทศ
รัฐที่ได้รับการประกันรับรองให้เป็นกลาง (Neutralized State) เช่นนี้จะผูกมัดตนว่า จะละเว้นจาการใช้อาวุธโจมตีไม่ว่าประเทศใดทั้งสิ้น นอกเสียจากว่าจะถูกโจมตีก่อน ตัวอย่างอันเป็นที่รู้จักกันดีที่สุดในเรื่องรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความ เป็นกลางอย่างถาวร คือ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ตามปฏิญญา (Declaration) ซึ่งมีการลงนามกัน ณ กรุงเวียนนา ประเทศออสเตรีย เมื่อวันที่ 20 มีนาคม ค.ศ. 1815 ประเทศใหญ่ ๆ ในสมัยนั้น คือ ออสเตรีย ฝรั่งเศส อังกฤษ ปรัสเซีย และรัสเซีย ได้รับรองว่า โดยคำนึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม จึงเป็นการจำเป็นที่จะให้รัฐเฮลเวติก(Helvetic Swiss States) ได้รับการประกันความเป็นกลางตลอดไป ทั้งยังประกาศด้วยว่า รัฐสภาของสวิตเซอร์แลนด์ตกลงรับปฏิบัติตามข้อกำหนดที่ได้ระบุไว้เมื่อไร ความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์ก็จะได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางในทันที และแล้วสมาพันธ์สวิตเซอร์แลนด์ก็ได้ประกาศยอมรับปฏิบัติตาม หรือให้ภาคยานุวัติเมื่อวันที่ 27 พฤษภาคม ค.ศ. 1815 บรรดาประเทศที่รับรองค้ำประกันความเป็นกลางของสวิตเซอร์แลนด์จึงประกาศ รับรองดังกล่าว เมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน ค.ศ. 1815 อนึ่ง การค้ำประกันความเป็นกลางในลักษณะที่ครอบคลุมทั้งประเทศของรัฐใดรัฐหนึ่ง นั้น มีความแตกต่างกับการค้ำประกันเพียงดินแดนส่วนใดส่วนหนึ่งของรัฐหนึ่ง ซึ่งหมายความว่าดินแดนส่วนหนึ่งของรัฐที่ได้รับการค้ำประกันความเป็นกลางจะ ไม่ยอมให้ฝ่ายใดใช้ดินแดนส่วนที่ค้ำประกันนั้นเป็นเวทีสงครามเป็นอันขาด การค้ำประกันความเป็นกลางยังมีอีกแบบหนึ่งคือ รัฐหนึ่งจะประกาศตนแต่ฝ่ายเดียวว่าจะรักษาความเป็นกลางของตนตลอดไปโดยถาวร แต่ในกรณีเช่นนี้ ความเป็นเอกราชและบูรณภาพของรัฐที่ประกาศตนเป็นกลางเพียงฝ่ายเดียว จะไม่ได้รับการค้ำประกันร่วมกันจากรัฐอื่น ๆ แต่อย่างใดส่วนคติหรือลัทธิความเป็นกลาง (Neutralism) เป็นศัพท์ที่หมายถึงสถานภาพของรัฐต่าง ๆ ที่ไม่ต้องการน้ำประเทศของตนเข้ากับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดในสงครามเย็น ( Cold War) ที่กำลังขับเคี่ยวกันอยู่ระหว่างกลุ่มประเทศภาคตะวันออกกับกลุ่มประเทศภาค ตะวันตก นอกจากนี้ ผู้นำบางคนในกลุ่มของรัฐที่เป็นกลาง ไม่เห็นด้วยกีบการที่ใช้คำว่า ?Neutralism? เขาเหล่านี้เห็นว่าควรจะใช้คำว่า ?ไม่ฝักใฝ่กับฝ่ายหนึ่งฝ่ายใด? ( Uncommitted ) มากกว่าจะเห็นได้ว่า คำว่า ?ความเป็นกลาง? ( Neutrality ) นั้น หมายถึงความเป็นกลางโดยถาวร ซึ่งได้รับการค้ำประกันจากกลุ่มประเทศกลุ่มหนึ่ง เช่นในกรณีประเทศสวิตเซอร์แลนด์ก็ได้หรือหมายถึงความเป็นกลางเฉพาะในดินแดน ส่วนหนึ่งของรัฐที่ไม่ยอมให้ใครเข้าไปทำสงครามกันในดินแดนที่เป็นกลางส่วน นั้นเป็นอันขาดก็ได้ ดังนั้น พอจะเห็นได้ว่า แก่นแท้ในความหมายของความเป็นกลาง ( Neutrality) จึงอยู่ที่ท่าที หรือ ทัศนคติของประเทศที่ดำรงตนเป็นกลาง ไม่ต้องการเข้าข้างประเทศคู่สงครามใด ๆ ในสงคราม ในสมัยก่อนผู้คนยังไม่รู้จักความคิดเรื่องความเป็นกลางดังที่รู้จักเข้าใจ กันในปัจจุบัน ความเป็นกลางเป็นผลมาจากการทยอยวางหลักเกณฑ์ต่าง ๆ ของความเป็นกลาง นับตั้งแต่ศตวรรษที่ 16 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน [การทูต] New World Order ระเบียบใหม่ของโลก
คำนี้มีส่วนเกี่ยวพันกับอดีตประธานาธิบดียอร์ช บุช และเป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางใจสมัยหลังจากที่ประเทศอิรักได้ใช้กำลัง ทหารรุกรานประเทศคูเวต เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ค.ศ. 1990 กล่าวคือ ประธานาธิบดียอร์ช บุช มีความวิตกห่วงใยว่า การที่สหรัฐอเมริกาแสดงปฏิกิริยาต่อการรุกรานของอิรักนี้ ไม่ควรจะให้โลกมองไปในแง่ที่ว่า เป็นการปฏิบัติการของสหรัฐแต่ฝ่ายเดียวหากควรจะมองว่าเป็นเรื่องของหลักความ มั่นคงร่วมกัน (Collective Security ) ที่นำออกมาใช้ใหม่ในสมัยหลังสงครามเย็นในสุนทรพจน์ต่อที่ประชุมสภาร่วมทั้ง สองของรัฐสภาอเมริกันเมื่อวันที่ 11 กันยายน ค.ศ. 1990 ประธานาธิบดีบุชได้วางหลักการง่าย ๆ 5 ข้อ ซึ่งประกอบเป็นโครงร่างของระเบียบใหม่ของโลก ตามระเบียบใหม่ของโลกนี้ โลกจะปลอดพ้นมากขึ้นจากการขู่เข็ญหรือการก่อการร้าย ให้ใช้มาตรการที่เข้มแข็งในการแสวงความยุติธรรม ตลอดจนให้บังเกิดความมั่นคงยิ่งขึ้นในการแสวงสันติสุข ซึ่งจะเป็นยุคที่ประชาชาติทั้งหลายในโลก ไม่ว่าจะอยู่ในภาคตะวันออก ตะวันตก ภาคเหนือหรือภาคใต้ ต่างมีโอกาสเจริญรุ่งเรืองและมีชีวิตอยู่ร่วมกันอย่างกลมเกลียวแม้ว่า ระเบียบใหม่ของโลก ดูจะยังไม่หลุดพ้นจากความคิดขั้นหลักการมาเป็นขั้นปฏิบัติอย่างจริงจังก็ตาม แต่นักวิจารณ์ส่วนใหญ่เห็นพ้องต้องกันว่า อย่างน้อยก็เป็นการส่อให้เห็นเจตนาอันแน่วแน่ที่จะกระชับความร่วมมือระหว่าง ประเทศใหญ่ ๆ ทั้งหลายให้มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมให้องค์การระหว่างประเทศมีฐานะเข้มแข็งขึ้น และให้กฎหมายระหว่างประเทศมีความศักดิ์สิทธิ์ยิ่งขึ้น ต่อมา เหตุการณ์ที่ได้เกิดขึ้นในด้านการเมืองของโลกระหว่างปี ค.ศ. 1989 ถึง ค.ศ. 1991 ทำให้หลายคนเชื่อกันว่า ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศกำลังผันไปสู่หัวเลี้ยวหัวต่อใหม่ กล่าวคือ ความล่มสลายของลัทธิคอมมิวนิสต์ในยุโรปภาคตะวันออก อวสานของสหภาพโซเวียตในฐานะประเทศอภิมหาอำนาจ การยุติของกติกาสัญญาวอร์ซอว์และสงครามเย็น การรวมเยอรมนีเข้าเป็นประเทศเดียว และการสิ้นสุดของลัทธิอะพาไทด์ในแอฟริกาใต้ (คือลัทธิกีดกันและแบ่งแยกผิว) เหล่านี้ทำให้เกิด ?ศักราชใหม่? ของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ดังจะเห็นได้ว่า บรรดาประเทศต่าง ๆ บัดนี้ต่างพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกันมากขึ้น องค์การสหประชาชาติและคณะมนตรีความมั่นคงมีศักยภาพสูงขึ้น กำลังทหารมีประโยชน์น้อยลง เสียงที่กำลังกล่าวขวัญกันหนาหูเกี่ยวกับระเบียบใหม่ของโลกในขณะนี้ คือความพยายามที่จะปฏิรูปองค์การสหประชาติใหม่ และปรับกลไกเกี่ยวกับรักษาความมั่นคงร่วมกันให้เข้มแข็งขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้สิทธิ์ยับยั้ง (Veto) ในคณะมนตรีความมั่นคง ควรจะเปลี่ยนแปลงเสียใหม่ โดยจะให้สมาชิกที่มีอำนาจใช้สิทธิ์ยับยั้งนั้นได้แก่สมาชิกในรูปกลุ่มประเทศ (Blocs of States) แทนที่จะเป็นประเทศสมาชิกถาวร 5 ประเทศเช่นในปัจจุบันอย่างไรก็ดี การสงครามอ่าวเปอร์เซียถึงจะกระทำในนามของสหประชาชาติ แต่ฝ่ายที่รับหน้าที่มากที่สุดคือสหรัฐอเมริกา แม่ว่าฝ่ายที่รับภาระทางการเงินมากที่สุดในการทำสงครามจะได้แก่ซาอุดิอาระ เบียและญี่ปุ่นก็ตาม ถึงแม้ว่าคติของระเบียบใหม่ของโลกจะผันต่อไปในรูปใดก็ดี สิ่งที่แน่นอนที่สุดก็คือ โลกจะยังคงต้องอาศัยพลังอำนาจ การเป็นผู้นำ และอิทธิพลของสหรัฐอเมริกาต่อไปอยู่นั่นเอง [การทูต] Organization of American States องค์กรรัฐอเมริกัน
ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2491 เป็นองค์กรความร่วมมือในทวีปอเมริกาและ แคริบเบียน ซึ่งเป็นองค์กรหลักด้านการเมืองในทวีปอเมริกา และในปัจจุบันได้ขยายบทบาทเน้นหนักความร่วมมือเพื่อการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม รวมทั้งการร่วมมือป้องกันและปราบปรามยาเสพติดและคอรัปชั่น ประกอบด้วยประเทศสมาชิกทั้งหมด 35 ประเทศ ประเทศผู้สังเกตการณ์ 45 ประเทศ โดยประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ถาวร ของ OAS เมื่อวันที่ 16 กันยายน 2541 (ประเทศสมาชิกดูที่ FTAA) [การทูต] peace building การสร้างสันติภาพ
เป็นการสร้างและพัฒนาเงื่อนไขเพื่อให้เกิดสันติภาพที่ถาวร อันรวมถึงการสร้างสถาบันและโครงสร้างพื้นฐานของชาติที่ถูกทำลายโดยสงคราม กลางเมืองหรือการสู้รบขึ้นมาใหม่ [การทูต] permanent resident in the receiving state บุคคลผู้มีถิ่นที่อยู่ถาวร ในรัฐผู้รับ [การทูต] Persons Entitled to Diplomatic Privileges and Immunities บุคคลทีมีสิทธิที่จะได้รับเอกสิทธิ์และความคุ้ม ครองกันทางการทูต
มาตรา 37 ของอนุสัญญากรุงเวียนนาว่าด้วยความสัมพันธ์ทางการทูตได้บัญญัติไว้ว่า ?1. คนในครอบครัวของตัวแทนทางการทูต ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตัวแทนทางการทูต ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ระบุไวในข้อ 29 ถึง 36 2. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการของคณะผู้แทน รวมทั้งคนในครอบครัวของตน ซึ่งประกอบเป็นส่วนของครัวเรือนของตน ตามลำดับ ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวร ในรัฐผู้รับ ให้ได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันที่ได้ระบุไว้ในข้อ 29 ถึง 35 เว้นแต่ว่าความคุ้มกันจากอำนาจศาลทางแพ่งและทางปกครองของรัฐผู้รับ ที่ได้ระบุไว้ในวรรค 1 ของข้อ 31 นั้น ไม่ให้ขยายไปถึงการกระทำที่ได้ปฏิบัติไปเกินภารกิจหน้าที่ของตน ให้บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายธุรการและฝ่ายวิชาการได้อุปโภคเอกสิทธิ์ ที่ได้ระบุไว้ในข้อ 36 วรรค 1 ในส่วนที่เกี่ยวกับสิ่งของที่ได้นำเข้าเมื่อเข้ารับหน้าที่ครั้งแรกด้วย 3. บุคคลในคณะเจ้าหน้าที่ฝ่ายบริการของคณะผู้แทนซึ่งไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้ รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ถาวร ในรัฐผู้รับให้ได้อุปโภคความคุ้มกัน ในส่วนที่เกี่ยวกับการกระทำที่ได้ปฏิบัติตามภารกิจหน้าที่ตน การยกเว้นจากค่าภาระผูกพันรวมทั้งภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่ตนได้รับโดยเหตุผล จากการรับจ้างของตน และการยกเว้นที่ได้บรรจุไว้ในข้อ 33 4. คนรับใช้ส่วนตัวของบุคคลในคณะผู้แทน ถ้าไม่ใช่คนในชาติของรัฐผู้รับ หรือมีถิ่นที่อยู่ประจำในรัฐผู้รับ ให้ได้รับการยกเว้นจากค่าภาระผูกพัน หรือภาษีสำหรับค่าบำเหน็จที่เขาได้รับโดยเหตุผลจากการรับจ้างของตนในส่วน อื่น คนรับใช้ส่วนตัวเช่นว่านี้ อาจได้อุปโภคเอกสิทธิ์และความคุ้มกันเท่าที่รัฐผู้รับยอมให้เท่านั้น อย่างไรก็ดี รัฐผู้รับต้องใช้อำนาจของตนเหนือบุคคลเช่นว่านี้ ในการที่จะไม่แทรกสอดโดยไม่สมควรในการปฏิบัติการหน้าที่ของคณะผู้แทน [การทูต] Plural Representation หมายถึง การที่รัฐหนึ่งแต่งตั้งผู้แทนทางการทูตถาวร ของตนมากกว่าหนึ่งคนไปประจำรัฐ อีกแห่งหนึ่งนอกประเทศ
ในกรณีเช่นนั้น ผู้แทนทางการทูตคนหนึ่งจะได้รับแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าคณะผู้แทนทางทูต ส่วนผู้แทนทางการทูตที่เหลือจะเป็นตัวรองอยู่ใต้บังคับบัญชาของเขา เช่น ในสหประชาชาติมีคณะทูตถาวร ประจำสหประชาชาติหลายแห่ง นิยมตั้งเอกอัครราชทูตของตนเป็นจำนวนมากถึง 3 หรือ 4 คนไปประจำอยู่ในคณะ ตัวหัวหน้าคณะทูตถาวร เช่นนั้น จะมีตำแหน่งเรียกว่า เอกอัครราชทูตผู้แทนถาวร แห่งประเทศของตนประจำสหประชาชาติ ส่วนเอกอัครราชทูตคนที่สองในคณะทูตถาวร มีตำแหน่งเรียกว่า รองผู้แทนถาวร การส่งเอกอัครราชทูตหลายคนไปประจำเป็นตัวแทนเช่นนี้ ไม่เป็นที่นิยมกระทำกันแพร่หลายเหมือนกับการส่งหัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตคน เดียวไปประจำในหลายประเทศในเวลาเดียวกัน ดังที่กล่าวมาข้างต้น [การทูต] Recall of Diplomats การเรียกตัวนักการทูตกลับประเทศของตน
คือ ผู้แทนทางการทูตอาจถูกรัฐบาลของตนริเริ่มเรียกตัวกลับประเทศได้ด้วยเหตุผล ต่าง ๆ เช่น ผู้แทนทางการทูตนั้นขอลาออก หรือลาออกจากราชการเพื่อรับบำเหน็จบำนาญ หรือถูกโยกย้ายไปประจำอีกแห่งหนึ่ง หรือเกิดความไม่พอใจอย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้ถ้าหากรัฐบาลปรารถนาจะเรียกหัว หน้าคณะผู้แทนทางการทูตกลับโดยถาวร เนื่องจากไม่พอใจในตัวเขา โดยมากเป็นธรรมเนียมปฏิบัติกัน คือ รัฐบาลจะเปิดโอกาสให้หัวหน้าคณะทูตผู้นั้นทำหนังสือขอลาออกจากตำแหน่งเสีย มากกว่าที่จะใช้วิธีสั่งปลด อันเป็นการกระทำที่รุนแรงกว่ามากนอกจากนี้ หัวหน้าคณะผู้แทนทางการทูตหรือเอกอัครราชทูตอาจถูกรัฐบาลเรียกตัวกลับตามคำ ขอร้องของรัฐบาลประเทศผู้รับ เนื่องจากกระทำตนไม่เป็นที่พึงปราถนาของประเทศผู้รับ (Persona non grata) ก็ได้ ตามปกติ คำขอร้องจากรัฐผู้รับขอให้เรียกตัวกลับนั้น มักได้รับการตอบสนองโดยดีในทันทีจากรัฐผู้ส่ง แต่ถ้าหากรัฐผู้ส่งปฏิเสธคำขอร้องดังกล่าวนั้น รัฐผู้รับอาจขับให้ออก (Dismiss) จากประเทศก็ได้ [การทูต] Security Council of the United Nations คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
คณะมนตรีนี้ประกอบด้วยสมาชิกถาวร (Permanent members) 5 ประเทศ คือ จีน ฝรั่งเศส สหภาพโซเวียต อังกฤษ และสหรัฐฯ และมีสมาชิกไม่ถาวร (Non-permanent members) อีก 10 ประเทศ ซึ่งสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติเป็นผู้เลือกตั้ง และให้ดำรงอยู่ในตำแหน่งประเทศละ 2 ปี สมาชิกประเภทนี้ไม่มีสิทธิรับเลือกตั้งใหม่ในทันที และในการเลือกตั้งจะคำนึงส่วนเกื้อกูลหรือบทบาทของประเทศผู้สมัครที่มีต่อ การธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ รวมทั้งที่มีต่อวัตถุประสงค์อื่น ๆ ขององค์การสหประชาชาติด้วย ในการเลือกตั้ง จะคำนึงถึงการแบ่งกลุ่มประเทศสมาชิกดังนี้คือ ก. 5 ประเทศจากแอฟริกาและเอเชียข. 1 ประเทศจากยุโรปตะวันออกค. 2 ประเทศจากละตินอเมริกาง. 2 ประเทศจากยุโรปตะวันตก และประเทศอื่น ๆหน้าที่ของคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติมีดังนี้1. ธำรงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศตามวัตถุประสงค์และหลักการของสหประชาชาติ2. สอบสวนเกี่ยวกับกรณีพิพาทหรือสถานการณ์ใด ๆ ซึ่งอาจนำไปสู่การกระทบกระทั่งระหว่างประเทศ3. เสนอแนะวิธีที่จะใช้กรณีพิพาทเช่นว่านั้น หรือ เงื่อนไขที่ให้มีการตกลงปรองดองกัน4. วางแผนเพื่อสถาปนาระบบการควบคุมกำลังอาวุธ5. ค้นหาและวินิจฉัยว่ามีภัยคุกคามต่อสันติภาพ หรือ เป็นการกระทำที่รุกรานหรือไม่ แล้วเสนอแนะว่าควรจะปฏิบัติอย่างไร 6. เรียกร้องให้สมาชิกประเทศที่ทำการลงโทษในทางเศรษฐกิจ และใช้มาตรการอื่น ๆ ที่ไม่ถึงขั้นทำสงคราม เพื่อป้องกันมิให้เกิดหรือหยุดยั้งการรุกราน7. ดำเนินการทางทหารตอบโต้ฝ่ายที่รุกราน8. เสนอให้รับประเทศสมาชิกใหม่ รวมทั้งเงื่อนไขหรือกฎเกณฑ์ ในการที่จะเข้าเป็นภาคีตามกฎหมายของศาลยุติธรรมระหว่างประเทศ 9. ทำหน้าที่ให้ภาวะทรัสตีของสหประชาชาติ ในเขตที่ถือว่ามีความสำคัญทางยุทธศาสตร์10. เสนอแนะให้สมัชชาสหประชาชาติ แต่งตั้งตัวเลขาธิการและร่วมกับสมัชชาในการเลือกตั้งผู้พิพากษาศาลโลก11. ส่งรายงานประจำปีและรายงานพิเศษต่อสมัชชาสหประชาชาติบรรดาประเทศสมาชิกของสห ประชาชาติ ต่างตกลงยินยอมที่จะปฏิบัติตามข้อมติใด ๆ ของคณะมนตรีความมั่นคง ทั้งยังรับรองที่จะจัดกำลังกองทัพของตนให้แก่คณะมนตรีความมั่นคงหากขอร้อง รวมทั้งความช่วยเหลือและและอุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต่อการธำรงรักษาไว้ซึ่งสันติภาพ และความมั่นคงระหว่างประเทศ [การทูต] The Hague Peace Conferences การประชุมสันติภาพ ณ กรุงเฮก ในประเทศเนเธอร์แลนด์
การประชุมนี้ได้กระทำกันเป็นครั้งแรกเมื่อปี ค.ศ. 1899 โดย พระเจ้าซาร์ นิโคลัสที่สอง ของประเทศรัสเซียเป็นผู้จัดให้มีขึ้น ณ กรุงเฮก เมื่อวันที่ 18 พฤษภาคม ค.ศ. 1899 ที่ประชุมได้รับรองอนุสัญญาว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติ วิธี ได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินประเทศโดยสันติวิธี พร้อมทั้งได้ตกลงจัดตั้งศาลซึ่งตัดสินโดยอนุญาโตตุลาการเป็นการถาวร และเสนอแนะให้วางประมวลพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการ ทั้งยังได้ตกลงรับรองอนุสัญญาและปฏิญญาต่าง ๆ หลายฉบับ ในจำนวนนี้ ที่สำคัญที่สุดได้แก่ อนุสัญญาควบคุมกฎหมายและขนบประเพณีว่าด้วยการทำสงครามภาคพื้นดินการประชุม สันติภาพ ณ กรุงเฮกครั้งที่สอง หรือการประชุม ณ กรุงเฮกปี ค.ศ.1907 ตามคำขอร้องของรัฐบาลรัสเซีย ได้มีขึ้นเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน ค.ศ.1907 วัตถุประสงค์สำคัญของการประชุมคือต้องการปรับปรุงและขยายข้อความในอนุสัญญา ต่าง ๆ ที่ทำไว้เมื่อปี ค.ศ. 1899 ว่าด้วยการระงับข้อพิพาทระหว่างประเทศโดยสันติวิธี รวมทั้งกฎหมายและขนบประเพณีเกี่ยวกับสงครามภาคพื้นดิน ตลอดจนรับรองอนุสัญญาเกี่ยวกับกฎหมายและขนมประเพณีของการทำสงครามทางทะเล การประชุม ณ กรุงเฮกครั้งที่สองนี้ยังได้เสนอแนะให้ที่ประชุมกำหนดให้ประเทศผู้ลงนาม รับรองและนำออกใช้ซึ่งร่างอนุสัญญาว่าด้วยการก่อตั้งศาลสถิตยุติธรรม เพื่อพิจารณาโดยอนุญาโตตุลาการอีกด้วย [การทูต] The Nordic Council องค์การที่ตั้งขึ้นเพื่อทำการปรึกษาหารือกัน ระหว่างรัฐสภาของประเทศเดนมาร์ก ฟินแลนด์ ไอซ์แลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดน รวมทั้งรัฐบาลของประเทศเหล่านี้ เกี่ยวกับเรื่องที่จะต้องปฎิบัติร่วมกัน
กฎข้อบังคับของคณะรัฐมนตรี (Council) ซึ่งประกอบด้วยประเทศเหล่านี้ ได้มีผลบังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ค.ศ. 1958 คณะมนตรีประกอบด้วยผู้แทนซึ่งได้รับการเลือกตั้ง 69 คน รวมทั้งผู้แทนของรัฐบาลด้วย คณะมนตรีนี้ไม่มีสำนักงานถาวร และไม่มีสำนักเลขาธิการระหว่างประเทศ การประชุมได้กระทำกันโดยหมุนเวียนไปตามนครหลวงของประเทศสมาชิก [การทูต] United Nations Security Council คณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติ
" ประกอบด้วยสมาชิกสหประชาชาติ 15 ประเทศ แบ่งออกเป็นสมาชิกถาวร 5 ประเทศ ได้แก่ จีน ฝรั่งเศส รัสเซีย สหราชอาณาจักร และสหรัฐอเมริกา (กำหนดในกฎบัตรสหประชาชาติ) และสมาชิกไม่ถาวร ที่มาจากการเลือกตั้งจากสมัชชาฯ อีก 10 ประเทศ มีกำหนดคราวละ 2 ปี คณะมนตรีความมั่นคงฯ ทำหน้าที่หลักในการธำรงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ โดยกระทำในนามของสมาชิกสหประชาชาติทั้งหมด และสมาชิกสหประชาชาติมีหน้าที่ต้องปฏิบัติตามคำวินิจ- ฉัยของคณะมนตรีความมั่นคงฯ " [การทูต] sealed source ต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีซึ่งถูกปิดผนึกอย่างถาวร ในปลอกหุ้ม หรือถูกห่อหุ้มอย่างมิดชิดและอยู่ในรูปของแข็ง ปลอกหุ้มหรือวัสดุห่อหุ้มต้องมีความแข็งแรงทนทานเพียงพอที่จะป้องกันการรั่วของสารกัมมันตรังสี ภายใต้สภาวะการใช้งานปกติรวมถึงเหตุผิดพลาดที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ [พลังงาน] unsealed source ต้นกำเนิดรังสีชนิดไม่ปิดผนึก, หมายถึง วัสดุกัมมันตรังสีที่ไม่เป็นไปตามคำนิยามของต้นกำเนิดรังสีชนิดปิดผนึก ได้แก่ วัสดุกัมมันตรังสี ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดๆ ที่ไม่ได้มีการบรรจุหรือห่อหุ้มปิดผนึกด้วยโลหะ หรือวัสดุอื่นใดอย่างมิดชิดถาวร การใช้ต้นกำเนิดรังสีชนิดนี้ อาจเกิดการแพร่กระจาย ฟุ้งกระจายหกเปรอะเปื้อน ซึมรั่วออกจากภาชนะบรรจุได้ [พลังงาน] Fixed asset ทรัพย์สินถาวร [การบัญชี] Intangible fixed asset ทรัพย์สินถาวร ไม่มีตัวตน [การบัญชี] Permanent file แฟ้มถาวร [การบัญชี] Tangible ทรัพย์สินถาวร ที่มีตัวตน [การบัญชี] Tangible fixed asset สินทรัพย์ถาวร มีตัวตน [การบัญชี]
ฟันถาวร [fan thāwøn] (n, exp) EN: tooth FR: dent définitive [f] คณะกรรมการถาวร [khanakammakān thāwøn] (n, exp) EN: standing committee FR: comité permanent [m] คงทนถาวร [khongthonthāwøn] (v) EN: be durable ความคงทนถาวร [khwām khongthonthāwøn] (n) EN: durability ไม่ถาวร [mai thāwøn] (adj) EN: temporary ; ephemeral ; impermanent FR: temporaire มั่นคงถาวร [mankhong thāwøn] (v, exp) EN: last มั่นคงถาวร [mankhong thāwøn] (adv) EN: permanently งานถาวร [ngān thāwøn] (n, exp) EN: permanent job นิทรรศการถาวร [nithatsakān thāwøn] (n, exp) FR: exposition permanente [f] สมาชิกถาวร [samāchik thāwøn] (n, exp) EN: permanent member สินทรัพย์ถาวร [sinsap thāwøn] (n, exp) EN: fixed assets ; capital assets ถาวร [thāwøn] (adj) EN: permanent ; enduring ; lasting ; everlasting ; perpetual FR: solide ; stable ; permanent ; durable ; perpétuel ถาวร [thāwøn] (adv) EN: permanently ; for a long time FR: en permanence ; durablement ถาวร วัตถุ[thāwønwatthu = thāwarawatthu] (n, exp) EN: permanent structures ; long-lived material FR: structure fixe [f] ; structure permanente [f] ที่อยู่ถาวร [thīyū thāwøn] (n, exp) EN: permanent address FR: adresse permanente [f] อย่างไม่ถาวร [yāng mai thāwøn] (adv) EN: temporarily FR: temporairement
built-in (adj) ที่สร้างเป็นส่วนถาวร ในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า, Syn. fitted built-in (n) สิ่งที่สร้างเป็นส่วนถาวร ในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า for good (idm) ถาวร , See also: ตลอดไป , ตลอดกาล , ช่วนิรันดร์ engraft (vt) ทำให้เนื้อเยื่อติดกันถาวร engraft (vt) ฝังลงไปอย่างถาวร , Syn. implant , imbue impermanent (adj) ซึ่งไม่ถาวร , See also: ชั่วคราว , ซึ่งเปลี่ยนแปลง , Syn. transient , Ant. permanent indelible (adj) ที่ลบไม่ออก, See also: ที่ติดแน่น , ถาวร lasting (adj) ยั่งยืน, See also: ยืนยง , คงทน , ถาวร , ยาวนาน , ยืนยาว , มั่นคง , ชั่วกัลปาวสาน , ไม่สิ้นสุด , Syn. continuing , enduring permanence (n) ความถาวร permanency (n) ความยั่งยืน, See also: ความถาวร , ความคงทน , Syn. permanence permanency (n) สิ่งที่ยั่งยืน, See also: สิ่งที่ถาวร , สิ่งที่คงทน permanent (adj) ถาวร , See also: คงทน , ยั่งยืน , Syn. lasting , Ant. impermanent , temporary permanent wave (n) ลอนผมถาวร ที่เกิดจากการใช้ความร้อนหรือสารเคมี, Syn. perm perpetuate (vt) ทำให้ถาวร , Syn. immortalize , eternalize perpetuity (n) สิ่งที่เป็นอมตะ, See also: สิ่งที่อยู่ในภาวะถาวร sessile (adj) ซึ่งติดถาวร temporality (n) ลักษณะชั่วคราว, See also: ลักษณะที่ไม่ถาวร temporarily (adv) โดยชั่วคราว, See also: โดยไม่ถาวร , โดยไม่ประจำ , โดยไม่ตลอดไป temporary (adj) ชั่วคราว, See also: ที่ไม่ประจำ , ที่ ไม่ตลอดไป , ที่ ไม่ถาวร , Syn. impermanent , Ant. permanent timeless (adj) ถาวร , See also: นิรันดร์ , ตลอดไป , ไม่จำกัดเวลา undying (adj) ไม่รู้จักตาย, See also: ไม่รู้จบ , ไม่สิ้นสุด , อมตะ , ถาวร , Syn. eternal , everlasting , classic , immortal unending (adj) ไม่มีที่สิ้นสุด, See also: ถาวร , อมตะ , Syn. eternal , incessant , perceptual , undying , endless well-established (adj) ซึ่งมีฐานมั่นคง, See also: ก่อตัวขึ้นแล้วอย่างถาวร , มั่นคง
archived file (อา-ไคว์ไฟล์) แฟ้มเก็บถาวร หมายถึง แฟ้มข้อมูลที่เก็บไว้อย่างเป็นระเบียบ เป็นลักษณะของแฟ้มข้อมูลชนิดแฟ้มข้อมูลแบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ read only, system archive และ hidden (บางทีใช้ archive เฉย ๆ ก็ได้) bubble (บับ'เบิล) {bubbled,bubbling,bubbles} n. ฟอง,ฟองอากาศ,ฟองน้ำ,สิ่งที่ไร้ความแน่นหรือความถาวร ,การลวงตา,การเป็นฟอง,เสียงแตกเป็นฟอง,การโกง. vi. เป็นฟอง,เกิดฟอง,เดือด,พูดจ้อ,พล่านไปด้วย,โกงหลอกลวง vt. ทำให้เป็นฟอง ciborium (ชิบอ'เรียม) n. ปะรำถาวร เหนือที่บูชา,ภาชนะใส่ขนมปังพิธีและน้ำมนต์พิธีในโบสถ์, See also: ciborial adj. -pl. -boria deciduous (ดิซิด'ดิวอัส) adj. ซึ่งเปลี่ยนใบ,ซึ่งสลัดหรือเปลี่ยนคราบฟัน เขา ใบ,ไม่ถาวร ,ชั่วคราว, See also: deciduousness n. ดูdeciduous ephemeral (อิเฟม'เมอเริล) adj. ชั่วคราว,ไม่ถาวร ,มีอายุสั้น. -n. สิ่งมีชีวิตที่มีอายุสั้น (เช่นแมลง), See also: ephemerality, ephemeralness n. fixed (ฟิคซฺทฺ) adj. ติดแน่น,ซึ่งได้กำหนดไว้,ซึ่งได้ทำให้มั่นคงหรือถาวร ,เป็นการเพ่งมองหรือเพ่งความสนใจ,แน่นอน,มั่นคง,ถาวร ,ไม่ผันแปร,เป็นระเบียบ., See also: fixedly adv. fixedness n., Syn. fastened forever (ฟอร์เอฟ'เวอะ) adj. ถาวร ,นิรันดร,ตลอดไป,ต่อเนื่อง,ไม่สิ้นสุด., See also: forever and a day ตลอดไป, ชั่วนิรันดร, Syn. eternally fugitive (ฟิว'จิทิฟว) n. ผู้ลี้ภัย,ผู้หลบหนี. adj. หลบหนี,ลี้ภัย,ชั่วคราว,เปลี่ยนแปลง,ร่อนเร่,ไม่ถาวร ., See also: fugitively adv. fugitiveness n., Syn. fleetiing, runaway hard copy สำเนาถาวร สิ่งพิมพ์ออก1. หมายถึง ผลลัพธ์หรือสารสนเทศ (information) หรือผลที่ได้จากการประมวลผลที่เครื่องคอมพิวเตอร์พิมพ์ออกมา เมื่อสั่ง ตรงข้ามกับ soft copy ซึ่งหมายถึง สารสนเทศหรือผลที่เห็นบนจอภาพ เมื่อปิดไฟก็จะหายไป ดู soft copy เปรียบเทียบ2. อีกความหมายหนึ่ง จะหมายถึงผลงานที่พิมพ์ลงกระดาษ impermanent (อิมเพอ' มะเนินทฺ) adj. ไม่ถาวร , ชั่วคราว., See also: impermanance, impermanency n. impermanently adv., Syn. transitory inherent (อินเฮีย'เรินทฺ) adj. ซึ่งมีอยู่แต่กำเนิด,ซึ่งมีอยู่อย่างถาวร และไม่แยกจากกัน., Syn. inborn, inbred invariable (อินแวร์'ระเบิล) adj.,n. (สิ่งที่) ไม่เปลี่ยนแปลง,คงที่,ถาวร ,สม่ำเสมอ, Syn. unvarying lasting (ลาส'ทิง) adj. ทนทาน,ทน,คงทน,ยืนหยัด,ถาวร . n. สิ่งทอที่ทนทานแข็งแรง., See also: lastingness n. ดูlasting, Syn. durable master file แฟ้มหลักหมายถึงแฟ้มข้อมูลที่ทำไว้ค่อนข้างถาวร และมีข้อมูลเก็บไว้อย่างสมบูรณ์ ในการแก้ไขหรือปรับปรุงแฟ้มข้อมูลหลักนี้ (เช่น ถ้าเป็นแฟ้มประวัติพนักงานของบริษัท ที่จะมีการแก้ไขเฉพาะรายการเงินเดือน ส่วนรายการอื่นไม่มีการแก้) มักจะใช้วิธีสร้างแฟ้มข้อมูลขึ้นมาใหม่ ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงข้อมูลเฉพาะบางรายการ เรียกว่า "แฟ้มรายการ เปลี่ยนแปลง " (transaction file) แล้วเขียนโปรแกรมให้คอมพิวเตอร์อ่านแฟ้มข้อมูล ใหม่นี้ เข้าไปจัดการแก้ไขปรับปรุงข้อมูลในแฟ้มหลักให้ ดู transaction file เปรียบเทียบ permanence (เพอ'มะเนินซฺ) n. สภาพที่ถาวร ,ลักษณะที่ถาวร , Syn. durability, fixity, stability, fixity, Ant. evanescence, mortality permanent (เพอ'มะเนินทฺ) adj. ถาวร ,ยืนยง,คงทน,ยาวนาน, (สี) ไม่ตก., See also: permanentness n., Syn. lasting, durable, stable, enduring, Ant. temporary permanent storage หน่วยเก็บถาวร หมายถึง แหล่งเก็บข้อมูลถาวร กล่าวคือข้อมูลจะไม่ลบเลือนหายไป แม้เมื่อปิดสวิตช์ไม่ปล่อยกระแสไฟเข้าไปก็ตาม เช่น จานบันทึก perpetual (เพอเพช'ชวล) adj. ตลอดไป,ถาวร ,ตลอดกาล,ต่อเนื่อง,ตลอดฤดู,ตลอดปี., Syn. unceasing, continual perpetuate (เพอเพช'ชุเอท) vt. ทำให้ถาวร ,ทำให้ไม่สูญไป,ทำให้เป็นอมตะ., See also: perpetration n. perpetuator n., Syn. continue regular army n. กองทัพทหารประจำการที่ถาวร , See also: regular army ทหารประจำการ reside (รีไซดฺ') vi. อยู่อาศัย,อยู่เป็นเวลานาน,พำนักอยู่อย่างถาวร ,อยู่ประจำ,อยู่กับ ,ตั้งใหม่เป็นปุ่มหนึ่งบนเครื่องพีซีบางเครื่อง การกดที่ปุ่มนี้จะเป็นการเริ่มเปิดเดินเครื่องใหม่ใช้เหมือนการกดแป้น Ctrl + Alt + Del ในระบบดอส บางทีในกรอบสนทนาก็จะมีปุ่มนี้ ในกรณีนั้น จะเป็นคำสั่งให้ยกเลิกค่าที่กำหนดใหม่ แล้วกลับไปใช้ค่าเดิม, See also: resider n., Syn. dwell, live, stay security council n. สภาความมั่นคงของสหประชาชาต'ประกอบด้วยสมาชิกถาวร 5ประเทศ (สหรัฐอเมริกา,โซเวียต,ฝรั่งเศส,อังกฤษและจีน) และสมาชิกชั่วคราว10ประเทศที่มีวาระครั้งละ2ปี sessile (เซส'-ไซล) adj. ติดกับฐาน,ไม่มีก้านแต่ตั้งอยู่บนฐานกว้าง,ติดอยู่อย่าง ถาวร ., See also: sessility n. soap bubble n. ฟองสบู่,สิ่งที่ไม่ปฎิเสธ,สิ่งที่ไม่ถาวร soft copy สำเนาชั่วคราวหมายถึง ผลลัพธ์จากการประมวลผลที่แสดงผลของการปฏิบัติการของคอมพิวเตอร์ที่ปรากฎบนจอภาพ ผลลัพธ์นี้ยังสามารถแก้ไขได้ง่าย ต่างกับ hard copy ซึ่งหมายถึงสำเนาถาวร หรือผลลัพธ์ที่พิมพ์ลงบนกระดาษพิมพ์แล้วที่เรียกว่าสำเนาถาวร ดู hard copy เปรียบเทียบ sturdy (สเทอ'ดี) adj. แข็งแรง,แข็งแกร่ง,มั่นคง,ทนทาน,เหนียว,ถาวร ,หนักแน่น,กล้าหาญ,เด็ดเดี่ยว,งอกงาม., See also: sturdily adv. sturdiness n., Syn. robust, stalwart, stout temporality (เทมพะแรล'ลิที) n. ลักษณะชั่วคราว,ลักษณะที่ไม่ถาวร ,ทรัพย์สมบัติทางโลก temporary (เทม'พะเรอรี่) adj. ชั่วคราว,ไม่ถาวร . n. คนที่ทำงานที่ไม่ถาวร ., See also: temporarily adv. temporariness n., Syn. transient, brief, short-lived transience (แทรน'เชินซฺ,-เ?ินซฺ) n. ภาวะชั่ว-คราว,สภาพที่ไม่ถาวร ,ลักษณะที่ไม่ยั่งยืน., Syn. transiency transient (แทรน'เชินทฺ) adj. ชั่วคราว,ไม่ถาวร ,ชั่วคราว n. สิ่งที่อยู่ชั่วคราว,สภาพชั่วคราว,นอกฤดูกาล., See also: transiently adv. transientness n., Syn. brief, temporary, vagrant transitory (แทรน'ซิทอรี) adj. ไม่ถาวร ,ไม่ยั่งยืน,ชั่วคราว,ชั่วประเดี๋ยว., See also: transitorily adv. transitoriness n. undying (อันได'อิง) adj. ไม่รู้จักตาย,ไม่รู้จบ,ไม่สิ้นสุด,อมตะ,ถาวร ., See also: undyingly adv. unending (อันเอน'ดิง) adj. ไม่มีที่สิ้นสุด,ไม่หยุด,ถาวร ,อมตะ,ไม่มีขอบเขต veto (วี'โท) n. อำนาจยับยั้ง,ลัทธิยับยั้ง,การใช้สิทธิยับยั้ง,เอกสารแสดงการใช้สิทธิยับยั้งและเหตุผลที่ยับยั้ง,การยับยั้ง,การห้าม,การออกเสียงยับยั้งของสมาชิกหนึ่งในห้าเสียงของสมาชิกถาวร ของสภาความมั่นคง (ในสหประชาชาติ) สามารถยับยั้งการปฎิบัติการหรือมติของที่ประชุมไ well-established (เวล'เอสแทบ'ลิชทฺ) adj. มีฐานที่มั่นคง,ก่อตัวขึ้นแล้วอย่างถาวร ,แน่นแฟ้น,มั่นคง, Syn. settled, firmly set
abiding (adj) ถาวร ,สืบไป,ตลอดกาล,มั่นคง ephemeral (adj) ไม่จีรัง,ไม่ยั่งยืน,ชั่วคราว,ไม่ถาวร fixity (n) ความคงที่,ความแน่นอน,ความตายตัว,ความมั่นคง,ความถาวร forever (adv) เป็นนิตย์,ตลอดกาล,ตลอดไป,ถาวร ,นิรันดร,ไม่สิ้นสุด fugitive (adj) หลบหนี,ลี้ภัย,หนี,ร่อนเร่,ไม่ถาวร ,ชั่วคราว invariable (adj) ไม่เปลี่ยนแปลง,สม่ำเสมอ,นิจสิน,คงที่,ถาวร last (adj) สุดท้าย,หลังสุด,ท้ายสุด,ปลาย,จบ,ตลอดไป,ถาวร ,ล่าสุด last (vt) ทนอยู่ได้,คงทน,ยืดเยื้อ,ถาวร ,มีอายุต่อไป lasting (adj) ทนทาน,คงทน,ถาวร ,ยืดเยื้อ,ยืดยาด monumental (adj) เป็นอนุสาวรีย์,ถาวร ,อย่างมหันต์,กล้าหาญ permanence (n) ความคงทน,ความถาวร ,ความยืนยง permanent (adj) คงทน,ถาวร ,ยืนยง perpetuate (vt) ทำให้ถาวร ,ทำให้เป็นอมตะ perpetuation (n) การทำให้เป็นอมตะ,การทำให้ถาวร perpetuity (n) ความเป็นอมตะ,ความถาวร soundly (adv) อย่างละเอียดลออ,อย่างถูกต้อง,อย่างถาวร ,อย่างมั่นคง temporarily (adv) เพียงชั่วคราว,อย่างไม่ถาวร temporary (adj) ชั่วคราว,ชั่วขณะ,ไม่ถาวร ,เฉพาะกาล transitory (adj) ชั่วครู่,ชั่วคราว,ชั่วแล่น,ไม่ถาวร
permaban (slang) การยกเลิกอย่างถาวร ,ใช้ไม่ได้ตลอดกาล (ย่อมาจาก permanently ban) ( * w *m Power by iiiita also RYUTAZA) Removal of endometrial tissue เป็นขั้นตอนที่จะเอาชิ้นเนื่้อเยื่อบางของเยื่อบุของมดลูกที่จะหยุดหรือลดการตกเลือดที่มากเกินไปหรือผิดปกติในผู้หญิงที่เจริญจะเสร็จสมบูรณ์. เยื่อบุโพรงมดลูกผ่าอาจจะไปทำให้เกิดการทำลายเยื่อบุของมดลูก
เป็นขั้นตอนที่จะลบออกอย่างถาวร ชั้นเนื้อเยื่อบางของเยื่อบุของมดลูกที่จะหยุดหรือลดการตกเลือดที่มากเกินไปหรือผิดปกติในผู้หญิงที่เจริญจะเสร็จสมบูรณ์. เยื่อบุโพรงมดลูกผ่าอาจจะแนะนำให้ทำลายเยื่อบุของมดลูก Standing Invitation (n, jargon) การออกคำเชิญอย่างถาวร
内蔵 [ないぞう, naizou] (n) ที่สร้างเป็นส่วนถาวร ในโครงสร้างที่ใหญ่กว่า (built-in) 常任理事国 [じょうにんりじこく, jouninrijikoku] (n) ประเทศสมาชิกถาวร ประจำคณะมนตรีความมั่นคง
固定資産 [こていしさん, koteishisan] สินทรัพย์ถาวร
Are you satisfied with the result?
Discussions
Try PopThai this URL:
[TIME Magazine ]
[CNN ]
[heise online ]
[Slashdot Japan ]
บริการ ติดโพย (PopThai)
เป็นบริการเปิดพจนานุกรมอัตโนมัติ โดยผู้ใช้สามารถป้อนข้อความ (ทีละประโยค หรือ เป็นหน้าเลยก็ได้ ไม่จำเป็นต้องทีละคำสองคำ)
หรือป้อนเว็บ URL ระบบจะไปดึงเนื้อหาเว็บนั้นๆ มา
แล้วทำการแนบความหมายของคำหรือวลีภาษาต่างประเทศ
(ปัจจุบันสนับสนุน ภาษาอังกฤษ, ญี่ปุ่นและเยอรมัน )
ติดกับเนื้อหานั้นๆ และจะแสดงผลความหมายเมื่อเอาเมาส์ไปวางเหนือคำหนึ่งๆ
ช่วยให้สามารถเข้าใจเนื้อหาของเวบภาษาต่างประเทศได้สะดวกและรวดเร็วยิ่งขึ้น
ความหมายของคำจะปรากฏขึ้นมาเมื่อท่านเอาเมาส์ไปวางบนคำหรือวลีที่มีอยู่ในพจนานุกรม
โดยไม่จำเป็นต้องกดปุ่มใดๆ
ดังตัวอย่างในรูปข้างล่างนี้
คุณสมบัติ / Features
แสดงความหมายของคำโดยอัตโนมัติ เพียงวางเมาส์ไว้บนคำที่ต้องการทราบความหมาย
สนับสนุนเวบหลากภาษา (ปัจจุบัน ภาษาอังกฤษ ญี่ปุ่น และเยอรมัน)
ค้นหาความหมายจากพจนานุกรมหลายชุดพร้อมๆกัน ในฐานข้อมูลของ Longdo ได้แก่
Lexitron2, Hope, Nontri, Longdo อังกฤษ-ไทย, Longdo เยอรมัน-ไทย เป็นต้น
แสดงได้ทั้งความหมายของคำเดี่ยว และคำผสม ได้อย่างถูกต้อง
เช่น Secretary of State=รัฐมนตรีต่างประเทศของสหรัฐฯ (ในภาพตัวอย่าง),
High school=โรงเรียนมัธยมปลาย
แสดงความหมายของคำที่แปรรูปจากคำในพจนานุกรมได้ เช่น
เมื่อวางเมาส์ไว้บนคำว่า executed/abusing ซึ่งไม่มีในพจนานุกรม
เครื่องจะแสดงความหมายของคำว่า execute/abuse ให้โดยอัตโนมัติ
เรียกใช้งานได้ง่ายเพียงกดปุ่ม PopThai บน
Longdo Toolbar
เพื่อแนบความหมายหน้าจอที่เปิดชมอยู่ในขณะนั้น
แก้ไข Link ในหน้าที่แสดง เพื่อให้สามารถเปิดชม Link เหล่านั้นผ่านบริการ PopThai
ได้ทันทีเช่นเดียวกัน
สนับสนุนบราวเซอร์ชั้นนำทั่วไป เช่น Internet Explorer, Firefox, Chrome, Safari, Konqueror, etc.
แสดง Link ให้ผู้ใช้ช่วยป้อนความหมายสำหรับคำที่ยังไม่มีอยู่ในพจนานุกรม
ใหม่: บริการ Vocabulary แสดงสรุปรายการคำศัพท์พร้อมความหมาย สำหรับพิมพ์ออกมาอ่านได้สะดวก
วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Vocabulary แทน PopThai. (PopThai ในโหมดปกติ จะเหมาะกับการใช้งาน on-line
หน้าจอคอมพิวเตอร็ ส่วนบริการ Vocabulary เหมาะสำหรับท่านที่ต้องการพิมพ์รายการคำศัพท์และความหมายออกมาบนกระดาษไว้อ่าน off-line)
ใหม่: บริการ Pronunciation Guide แสดงคำอ่านของคำใน เว็บ หรือ text ที่ป้อนให้ ข้างบนคำนั้นๆ, นอกเหนือไป
จากการแสดง pop-up ความหมาย. วิธีใช้งาน ให้เลือกตรงตัวเลือกบริการด้านบน ให้เป็น Pronunciation.
ขณะนี้ใช้ได้กับภาษาอังกฤษ (แสดงคำอ่านภาษาอังกฤษ) และภาษาญี่ปุ่น (แสดง hiragana เหนือคันจิ). บริการนี้
ใช้ extension ของ browser ที่ชื่อ Ruby ปัจจุบันมีแค่ IE browser ที่สนับสนุน ถ้าเป็น browser อื่นๆ จะเห็นคำอ่านปรากฎในวงเล็บแทน
วิธีใช้
ท่านสามารถป้อนเนื้อหาหรือ URL ของเว็บไซต์ที่ต้องการให้แนบความหมายนี้ ในช่องใส่ข้อความค้นหาปกติ
หลังจากนั้นเลือกบริการที่ต้องการ (เช่น ถ้าป้อนข้อความ ให้เลือก PopThai (text) ถ้าป้อน URL ให้เลือก PopThai (URL)) ถ้าท่านไม่เลือกบริการ
ระบบจะเดาบริการที่ท่านต้องการ จากข้อความที่ท่านใส่เข้ามา (ว่าเป็นข้อความหรือเป็น URL) โดยอัตโนมัติ,
จากนั้นกด Submit เป็นอันเสร็จ
ในกรณีที่ท่านใส่ URL ระบบจะไปทำการดาวน์โหลดเนื้อหาของหน้านั้นๆ มาและแนบความหมาย พร้อมแก้ไขลิงค์ต่างๆ ให้เป็นผ่านบริการ PopThai เ
พื่อที่ว่าเมื่อท่านกดที่ลิงค์ใดๆ ต่อไปจากเพจนั้นๆ ก็จะมีการแนบความหมายมาให้ด้วยในทันที
เพื่อเพิ่มความสะดวกในการใช้ท่านสามารถใช้ PopThai ผ่าน Longdo Toolbar โดยเมื่อท่านเปิดดูเว็บไซต์ใดๆ อยู่ตามปกติ และต้องการใช้บริการ PopThai สำหรับ
หน้านั้นๆ สามารถทำได้ทันที โดยคลิกที่ปุ่ม PopThai บน Toolbar รายละเอียดเพิ่มเติมโปรดอ่านที่ Longdo Toolbar
คำเตือน ในกรณีของ URL นี้ ถึงแม้ทางผู้ดูแลระบบลองดูจะได้ทำการทดสอบกับหลายเว็บไซต์
แล้วก็ตาม ยังมีบางเว็บไซต์ที่ข้อมูลเวลาที่ระบบไปโหลดมาจะแตกต่างจากที่ท่านเปิดดูโดยใช้ browser โดยตรง โปรดระวังด้วย และไม่ควรใช้กับหน้าเว็บไซต์ที่
ต้องการความถูกต้องสูง)
Problems & TODO
inflected word support (German)
support HTTP POST
other foreign language support (Japanese, French)
เราทราบดีว่าท่านผู้ใช้คงไม่ได้อยากให้มีโฆษณาเท่าใดนัก แต่โฆษณาช่วยให้ทาง Longdo เรามีรายรับเพียงพอที่จะให้บริการพจนานุกรมได้แบบฟรีๆ ต่อไป
ดูรายละเอียดเพิ่มเติม